ตรวจได้ที่ไหนบ้าง ?

ช่องทางการให้บริการตรวจเครดิตบูโร ดังนี้

ตรวจที่ไหน อย่างไร?


ขั้นตอนการตรวจเครดิตบูโร


แบบรอรับได้ภายใน 15 นาที
ขั้นตอนการตรวจเครดิตบูโร ณ ศูนย์ตรวจเครดิตบูโร 7 แห่ง

ตู้ตรวจเครดิตบูโรด้วยตนเอง (ตู้คีออส) รับรายงานทางอีเมลได้ทันที
(NCB e-Credit Report)

ส่งรายงานกลับทางไปรษณีย์ลงทะเบียนภายใน 7 วัน
ขั้นตอนการตรวจเครดิตบูโรผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร (ธ.กรุงศรีฯ, ธ.กรุงไทย, ธอส., ธ.ก.ส.)
ขั้นตอนยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรผ่านธนาคารออนไลน์ (INTERNET BANKING)
ขั้นตอนยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรผ่าน MOBILE APPLICATION
ขั้นตอนยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรผ่านตู้ ATM
ขั้นตอนยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรผ่านที่ทำการไปรษณีย์และเคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ

ขั้นตอนการตรวจเครดิตบูโร


ทำไมเราต้องไปตรวจเครดิตบูโร?

รายงานเครดิตบูโรเป็น "ความลับ"

เครดิตบูโรไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีสิทธิอนุมัติหรือร่วมตัดสินใจให้สินเชื่อกับใคร

บุคคลใดกล่าวอ้างกับท่าน แจ้งเรื่องได้ที่ consumer@ncb.co.th

ทำไมเราต้องไปตรวจเครดิตบูโร?


ความเข้าใจผิด...ที่ควรทราบ


ค้างชำระ / ผิดนัดชำระหนี้ ถูกขึ้นบัญชีดำจริงหรือ ?


หลายท่านเข้าใจว่า สาเหตุที่สถาบันการเงินไม่ให้สินเชื่อ

เพราะเครดิตบูโรได้ขึ้น "บัญชีดำ" ของตนไว้ มาทำความเข้าใจกันใหม่ดีกว่า

แต่สาเหตุที่ท่านไม่ได้รับสินเชื่อจากสถาบันการเงิน เพราะเมื่อสถาบันการเงินที่ท่านไปขอสินเชื่อได้ตรวจสอบ
ประวัติการชำระหนี้ของท่านจากบริษัท ข้อมูลเครดืตแห่งชาติ จำกัด อาจพบว่าท่านมีหนี้เสีย
คือไม่ชำระหนี้กับสถาบันการเงินหรือเป็นผู้ประกอบการรายอื่นต่างหาก

ที่มา : ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย : สิงหาคม 2559

ค้างชำระ/ผิดนัดชำระหนี้ ถูกขึ้นบัญชีดำจริงหรือ?


อยากรู้จัง...ทำไมขอสินเชื่อไม่ผ่าน?

อยากรู้จัง...ทำไมขอสินเชื่อไม่ผ่าน?


หากประวัติเครดิตไม่ดี ควรทำอย่างไร?


หากประวัติเครดิตไม่ดี ควรทำอย่างไร?

กรณีที่ท่านมีประวัติข้อมูลเครดิตไม่ดี มีการค้างหรือปิดนัดชำระ ควรรีบแก้ไขดังนี้

1. ติดต่อสถาบันการเงินที่เคยเป็นหนี้เพื่อชำระหนี้ค้างให้เสร็จสิ้น แต่หากมีหนี้คงค้างจำนวนมากควรเจรจาต่อรองกับเจ้าหนี้ เพื่อขอลดหนี้ หรือปรับโครงสร้างหนี้

2. เริ่มสร้างประวัติสินเชื่อใหม่ โดยการสร้างวินัยที่ดี ชำระหนี้ให้ตรงเวลา ไม่ผิดนัดชำระหนี้อีก เพราะทุกความเคลื่อนไหวในการชำระหนี้ของท่านจะถูกจัดเก็บ


ที่มา : ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

หากประวัติเครดิตไม่ดี ควรทำอย่างไร?